วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2561

แผนภาพบริบท (context diagram)

       เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลระดับบนสุดที่แสดงภาพรวมทั้งหมดของระบบที่มีความสัมพันธ์กับสภาพเเวดล้อมภายนอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการเพียงกระบวนการเดียวนั่นคือ ระบบที่ศึกษา บุคคล ระบบภายนอก และการเคลื่อนที่ของข้อมูลจากภายนอกสู่ระบบ

ภาพที่ 1.1 แผนภาพบริบท ระบบการขายเกมออนไลน์
2.3 ออกแบบระบบ ออกแบบระบบคือขั้นตอนการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ จากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ โดยขั้นตอนนี้จะกำหนดขั้นตอนการทำงานโดยใช้แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน

2.4 พัฒนาระบบ และทดสอบระบบ
พัฒนาระบบ และทดสอบระบบ คือ ขั้นรตอนการดำเนินงานต่างๆเพื่อพัฒนาระบบ โดยดำเนินงานตามการออกแบบจากขั้นตอนการออกแบบระบบ

2.5 ติดตั้งระบบ
 ติดตั้งระบบ คือ ขั้นตอนการนำซอฟต์แวร์และระบบงานใหม่ที่เสร็จสมบูรณ์มาติดตั้งในสภาพเเวดล้อมการทำงานจริง จัดทำเอกสารการติดตั้งระบบงานใหม่และคู่มือการใช้งาน จัดฝึกอบรมผู้ใช้งาน

2.6 บำรุงรักษาระบบ 
บำรุงรักษาระบบ คือ ขั้นตอนการดูแลระบบต่างๆ เช่น การแก้ไขจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นหลังจากการใช้งานในสภาพเเวดล้อมจริง การเพิ่มความสามารถของระบบงาน การปรับเปลี่ยนการทำงานบางประการให้ทันสมัยมากขึ้น เป็นต้น


ตารางที่ 1.2 สัญลักษณ์ในการวาดเเผนภาพกระเเสข้อมูล



 ขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นงานที่ดำเนินการตอบสนองขข้อมูลที่รับเข้า หรือดำเนินการตอบสนอง
  ต่อเงื่อนไขสภาวะใดๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าขั้นตอนการดำเนินการนั้นจะหระทำโดยบุคล หุ่นยนต์ หรือ   คอมพิวเตอร์ก็ตาม
 เเหล่งจักเก็บข้อมูล ทิศทางของกระแสข้อมูลจากกระบวนการ ไปแหล่งจัดเก็บข้อมูลหมายถึงการปรับปรุงข้อมูล เช่น เพิ่ม ลบ หรือ แก้ไขข้อมูลทิศทางของกระแสข้อมูลจากแหล่งจัดเก็บข้อมูล ไปยังกระบวนการหมายถึง การอ่านข้อมูล หรือ นำข้อมูลไปใช้ชื่อของทิศทางกระแสข้อมูลควรใช้คำนามแสดงทิศทางการไหลข้อมูลระหว่างหน่วยงานนอกระบบ (External Entities เช่น ลูกค้า, พนักงานขาย เป็นต้น) กับกระบวนการทำงาน (Process) และพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของระบบ(Data Store)DFDs แตกต่างจาก Flowchart คือDFDs เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical) และตรรกะ(Logical) ของทิศทางการไหลข้อมูล โดยไม่ขึ้นกับเทคโนโลยีFlowchart เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical)
ของระบบมากกว่าทางตรรกะ
ตัวเเทน หมายถถถึง บุคคล หน่วงงานในองค์กร องค์กรอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกขอบเขตของระบบ เเม่เชื่อมกับระบบโดยมีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อดำเนินการ เเละรับข้อมูลเพื่ออดำเนินการสัญลักษณ์ไว้อภิบาย
สี่เหลี่ยมจัสตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในจะต้องเเสดงชื่อตัวเเทนข้อมูล โดยสามารถทำซ้ำได้ด้วยการใช้เครื่องหมาย


วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561

เเนวคิดเชิงคำนวณ
เเนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ไม่ใช่การคอิดเหมือนหุ่นยนต์หรือการเขียนโปรเเกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ เเต่เป็นทักษะที่มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรยะ คือ สามารถอธิบายการคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ หรือเป็นการเเก้ไขปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอน เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการเเก้ไขปัญหาทีี่ทั้งมนุษย์เเละคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้
เเนวคิดเชิงคำนวณ
1.เเนวคิดการเเยกเเยะ (Decomposition) เเนวคิดการเเยกเเยะ คือ เเตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพิื่อให้จัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น
2.เเนวคิดการจดจำรูปเเบ (Pattern Recognition) เเนวคิดการจดจำรูปแบบ เพื่อดูความเหมือน ความเเตกต่างของรูปเเบบการเปลี่ยนเเปลง ทำให้ทราบเเนวโน้มเพื่อทำนายไปข้างหน้าได้
3.เเนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) เเนวคิดเชิงนามธรรม เป็นทักษะสำคัญที่มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหา โดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น เเละต่อยอดให้เกิดเเบบจำลองหรือสูตร
4.เเนวคิดการออกเเบบขั้นตอน (Algorithm Design) เเนวคิดการออกเเบบขั้นตอนในการเเก้ปัญหา ทำให้ทราบจะต้องทำอะไรก่อนอะไรหลัง
เเนวคิดเชิงคำนวณ
 เเนวคิดเชิงคำนวณประกอบด้วยลำดับการใช้ทักษะย่อย 4 ทักษะ ดังนี้
1.เเนวคิดการเเยกย่อย(Decomposition) เเตกปัญหาหาใหญ่ให้เป็นปัญหาย่อยที่มีขนาดเล็กลง เพื่อให้สามารถจัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์
เเตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อย
2.เเนวคิดการจดจำรูปแบบ (Pattern Recognition) กำหนดเเบบเเผนจากปัญหาย่อยต่างๆ จากปัญหาที่มีรูปเเบบที่หลากหลาย โดยปัญหาต่างๆ มักมีรูปเเบบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือหากเราเข้าใจปัญหา จะพบว่าปัญหาที่เเตกต่างกัน สามารถใช้วิธีการในการเเก้ไขปัญหาเเบบเดียวกันได้ ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์เเบบเชื่อมโยง
3.เเนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) การหาเเนวคิดเชิงนามธรรมหรือการนินิยาม เพื่อหาเเนวคิดรวบยอด ของเเต่ละปัญหาย่อย เป็นการมุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น เพื่อใหเ้สามารถเข้าใจถึงเเก่นเเท้ของปัญหา ทักษะที่เทียบเท่ากับการคิดสังเคราะห์ จนได้มาซึ่งเเบบ จำลอง เช่น เเบบจำลองต่างๆ เเบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปของสมการหรือสูตร เป็นต้น
4. เเนวคิดการออกเเบบขั้นตอน (Algorithm Design) ออกเเบบลำดับขั้นตอนการเเก้ไขปัญหาด้วยการคิดเชิงอัลกอรึทึม เป็นความคิด พื้นฐาน